|
|
|
การเกษตร ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง, ค้าขาย เป็นส่วนมาก และมีส่วนน้อยที่เป็นเกษตรกร ได้แก่ ทำนา ปลูกไม้ผล และพืชผักและอื่นๆ |
|
|
|
ปศุสัตว์ จากข้อมูลของปศุสัตว์จังหวัดสระบุรี (ปี2555) มีเกษตรกรจำนวน 225ครัวเรือน เลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริมของครอบครัว และบางส่วนบริโภคภายในครัวเรือน โดยเลี้ยงเพื่อปล่อยให้หาอาหารกินเองตามธรรมชาติ เช่น ในบ่อเป็นต้น |

 |
โคเนื้อ |
จำนวน 210 ตัว |

 |
โคนม |
จำนวน 13 ตัว |

 |
กระบือ |
จำนวน 930 ตัว |

 |
สุกร |
จำนวน 8 ตัว |

 |
ไก่ |
จำนวน 3,841 ตัว |

 |
เป็ด |
จำนวน 194 ตัว |

 |
แพะ |
จำนวน 40 ตัว |
|
อุตสาหกรรม ชาวบ้านในตำบลกุดนกเปล้า ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพ ทำนา รับราชการ และรับจ้างทั่วไป ส่วนอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะเป็นแบบครัวเรือน ก็คือ อุตสาหกรรมการทำครกหิน
อุตสาหกรรมเบอเกอรี่ |
|
|
|
|
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลกุดนกเปล้า อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี จัดอยู่ในภูมิอากาศ แบบร้อนชื้นสลับแล้ง (tropical wet and dry climate) ตามการจำแนกภูมิอากาศตามแบบของ KOPPEN (KOPPEN’s classification) ในเขตนี้จะมีฤดูฝน และฤดูแล้งแตกต่างกันอย่างชัดเจนสามารถแบ่งได้ 3 ฤดู คือ |
|
|
|

 |
ฤดูร้อน เริ่มประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ |

 |
ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน โดยฤดูนี้จะเริ่มมีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นลมชื้นพัดปกคลุม ทำให้ฝนตกแพร่กระจายตามร่องมรสุม ประกอบกับร่องความกดอากาศต่ำ(depression) พาดผ่านทาง
ทิศตะวันออกทำให้อากาศชุ่มชื้น และมีฝนตกชุกโดยเฉพาะ ในเดือนกันยายนอากาศจะชุ่มชื้น |

 |
ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนเดือนตุลาคมถึงมกราคม โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศจะหนาวเย็นสลับกับอากาศ ร้อนจากสถิติภูมิอากาศของสถานีอุตุนิยมวิทยา ในรอบ 20 ปี (พ.ศ. 2536-2555)
จังหวัดลพบุรีได้นำมาใช้พิจารณาเป็นตัวแทนลักษณะ ภูมิอากาศในพื้นที่ ตำบลกุดนกเปล้า อำเภอเมืองสระบุรีจังหวัดสระบุรี |
|
|
|
|
 |
|
ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป เป็นที่ราบลุ่มสลับกับภูเขา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบลุ่มแม่น้ำป่าสักตอนล่าง เกิดจากการทับถมของตะกอนลำน้ำ พื้นที่มีความลาดเทเล็กน้อย จากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตำบล เป็นพื้นที่ภูเขา (เขาสูง 248 เมตร)
ความสูงของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 1 4-24 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชไร่ ทำนา พืชสวนและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ |
|
|
|
|
 |
|
สถาบันและองค์การทางศาสนา ประกอบด้วย |

 |
วัดโนนสภาราม |
ตั้งอยู่หมู่ที่ |
2 |

 |
วัดกุดนกเปล้า |
ตั้งอยู่หมู่ที่ |
3 |

 |
วัดทุ่งสาริกา |
ตั้งอยู่หมู่ที่ |
5 |

 |
วัดโคกเพ็ก |
ตั้งอยู่หมู่ที่ |
6 |

 |
วัดโนนคล้อ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ |
7 |
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
ตำบลกุดนกเปล้ามีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่ คือ |

 |
ประเพณีกราบพระนอนที่บ้านโคกเพ็ก หมู่ที่6 ชาวบ้านจะจัดงานประเพณีกราบพระนอน
ขึ้นช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี |

 |
งานประเพณีแห่หลวงพ่อสมปรารถนา วัดโนนสภาราม บ้านโนนสภารามหมู่ที่ 2
ชาวบ้านจะจัดงานประเพณี แห่หลวงพ่อสมปรารถนาขึ้น ช่วงเดือนเมษายนของทุกปี |
|
|
|
|
 |
|
ภายในเขตเทศบาลตำบลกุดนกเปล้า มีสถานศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ดังนี้ |

 |
สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานเขตการศึกษา 2 จ.สระบุรี |

 |
โรงเรียนวัดกุดนกเปล้า |

 |
โรงเรียนวัดโนนสภาราม |

 |
โรงเรียนวัดทุ่งสาริกา |
|
|
|
|
|
|
 |
|
ภายในเขตเทศบาลตำบลกุดนกเปล้ามี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 1 แห่ง
ตั้งอยู่ที่บ้านโนนสภาราม หมู่ที่ 2 |

 |
เจ้าหน้าที่ |
จำนวน |
6 |
แห่ง |

 |
แม่บ้าน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
การคมนาคมติดต่อระหว่างอำเภอและจังหวัด รวมทั้งการคมนาคมภายในตำบล
และหมู่บ้านมีรายละเอียดดังนี้ |

 |
รถประจำทาง |
จำนวน |
1 |
สาย |
*วิ่งระหว่างจังหวัดสระบุรี - โคกกรุง อำเภอแก่งคอย ซึ่งวิ่งผ่านตำบลกุดนกเปล้า |

 |
ถนนลาดยางทางหลวงชนบท |
จำนวน |
1 |
สาย |

 |
ถนนลาดยาง อบจ. |
จำนวน |
3 |
สาย |

 |
ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก |
จำนวน |
8 |
หมู่ |

 |
ถนนลูกรัง |
จำนวน |
20 |
สาย |
|
|
|
|
|

 |
ประปาหมู่ที่ 1 |
บ้านโง้ง |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายสวน สืบสาย |

 |
ประปาหมู่ที่ 1 |
บ้านโง้ง |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายบัวผัน สีท้าว |

 |
ประปาหมู่ที่ 2 |
บ้านโนนสภาราม |
สถานที่ตั้ง |
ณ วัดโนนสภาราม |

 |
ประปาหมู่ที่ 2 |
บ้านโนนสภาราม |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายอาจ จันทมาศ |

 |
ประปาหมู่ที่ 3 |
บ้านกุดนกเปล้า |
สถานที่ตั้ง |
ณ โรงเรียนวัดกุดนกเปล้า |

 |
ประปาหมู่ที่ 3 |
บ้านกุดนกเปล้า |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายจรูญ สิทธิการะนา |

 |
ประปาหมู่ที่ 3 |
บ้านกุดนกเปล้า |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายทวน บุญสีมา |

 |
ประปาหมู่ที่ 3 |
บ้านกุดนกเปล้า |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนางระเบียบ รอดรักษา |

 |
ประปาหมู่ที่ 3 |
บ้านกุดนกเปล้า |
สถานที่ตั้ง |
ณ วัดกุดนกเปล้า |

 |
ประปาหมู่ที่ 4 |
บ้านป่ากล้วย |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายดอน ภักดี |

 |
ประปาหมู่ที่ 4 |
บ้านป่ากล้วย |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนางสาววรรณา กุหลาบ |

 |
ประปาหมู่ที่ 4 |
บ้านป่ากล้วย |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายสกุล คำมูล |

 |
ประปาหมู่ที่ 5 |
บ้านทุ่งสาริกา |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านโรงเรียนวัดทุ่งสาริกา |

 |
ประปาหมู่ที่ 5 |
บ้านทุ่งสาริกา |
สถานที่ตั้ง |
ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 |

 |
ประปาหมู่ที่ 6 |
บ้านโคกเพ็ก |
สถานที่ตั้ง |
ณ วัดโคกเพ็ก |

 |
ประปาหมู่ที่ 6 |
บ้านโคกเพ็ก |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนางจำเนียร ดีนี |

 |
ประปาหมู่ที่ 7 |
บ้านโน้นคล้อ |
สถานที่ตั้ง |
ณ วัดโนนคล้อ |

 |
ประปาหมู่ที่ 7 |
บ้านโน้นคล้อ |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายกุลศรัญย์ ภูธร |

 |
ประปาหมู่ที่ 8 |
บ้านวังยาง |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านสนั่น ยอดเพ็ชร |

 |
ประปาหมู่ที่ 8 |
บ้านวังยาง |
สถานที่ตั้ง |
ณ บ้านนายเพ็ญนี สมวงษ์ |
|
|
|
|
|
 |
|

 |
มีตู้โทรศัพท์สาธารณะ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 , 3 , 5 , 8 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |

 |
แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญได้แก่ ห้วยตะเข้ คลองหนองจอกและคลองเพรียว |
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |

 |
พื้นที่ของตำบลกุดนกเปล้า ไม่ได้ตั้งอยู่ในเขตที่มีระบบชลประทาน แต่มีระบบประปาหมู่บ้าน
ที่ใช้ประโยชน์ในการอุปโภคบริโภค และมีสระน้ำที่เกษตรกรขุดขึ้นมา เพื่อใช้ในการทำการเกษตร |
|
|
|
|
 |
|

 |
ไฟฟ้าสาธารณะ หมู่ที่ 1 - 8 ตำบลกุดนกเปล้า |
|
|
จำนวน |
371 |
สาย |

 |
หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน |
จำนวน |
10 |
แห่ง |

 |
ไฟโซล่าเซลล์ |
จำนวน |
30 |
จุด |

 |
ระบบเสียงตามสาย |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น |
|
|
 |
|
|
เมื่อมีการอพยพของราษฎรมาจากภาคอีสาน และบางส่วนมาจากเวียงจันทร์ ประเทศลาว และตั้งชุมชนขึ้นเรียกว่าบ้านกุดนกเปล้า ภาษาท้องถิ่นจึงเป็นภาษาลาวภาคกลาง
กึ่งลาว กึ่งไทย |
|
|
|
|
|
|
|
|
น้ำ ประเภทแหล่งน้ำตำบลกุดนกเปล้า ประกอบด้วย |
|
ลำห้วย มีชื่อแหล่งน้ำดังนี้ |
|

 |
ห้วยกุดนกเปล้า |
ไหลผ่านหมู่บ้านหมู่ที่ 1,3,4,7 |
|

 |
ห้วยวังยาง |
ไหลผ่านหมู่บ้านหมู่ที่ 2,5,8 |
|
บึง มีชื่อบึงดังนี้ |
|

 |
บึงกุดนกเปล้า |
หมู่ที่ 3 |
|
ฝาย มีชื่อฝายดังนี้ |
|

 |
ฝายบ้านโง้ง |
หมู่ที่ 1 |
|

 |
ฝายวัดโนนสภาราม |
หมู่ที่ 2 |
|

 |
ฝายกุดนกเปล้า |
หมู่ที่ 3 |
|

 |
ฝายทุ่งสาริกา |
หมู่ที่ 5 |
|

 |
ฝายหนองสะพรัง |
หมู่ที่ 6 |
|

 |
ฝายโนนคล้อ |
หมู่ที่ 7 |
|

 |
ฝายวังยาง |
หมู่ที่ 8 |
ป่าไม้ พื้นที่ของตำบล เป็นป่าโปรงและทุ่งหญ้า มีต้นไม้เบญจพรรณ จำนวนมาก และบริเวณหมู่ 3 มีกุดและบึงซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของนกเปล้า |
|
|
|